ประวัติความเป็นมาของวันเข้าพรรษา – เว็บไซต์ข่าวบันเทิงชั้นนำ

สารบัญ
ประวัติความเป็นมาของวันเข้าพรรษา เป็นข้อมูลที่คุณสนใจค้นหาหรือไม่ เว็บไซต์ acardin.top จะแนะนำข้อมูลล่าสุดและถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับ ประวัติความเป็นมาของวันเข้าพรรษา ในบทความนี้!
Video: ประวัติความเป็นมา วันเข้าพรรษา
คุณกำลังดูวิดีโอ ประวัติความเป็นมา วันเข้าพรรษา ล่าสุดที่อัปเดตจากช่อง Kanta Everything จากวันที่ 14:06:21 30/06/2020 โดยมีคำอธิบายว่า ด้านล่าง
วันเข้าพรรษา 2564 ประวัติความเป็นมาวันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษา หมายถึง วันที่พระภิกษุในพระพุทธศาสนาอธิษฐานอยู่ประจำที่ ไม่จาริกไปค้างแรมตามสถานที่ต่างๆ เว้นแต่มีกิจจำเป็น เป็นระยะเวลา ๓ เดือนในฤดูฝน คือตั้งแรม ๑ ค่ำ เดือน ๘ ถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ำเดือน ๑๑ ซึ่ง วันเข้าพรรษาปี 2564 นี้ ตรงกับวันที่ 25 กรกฎาคม 2564
โดยทั่วไปการจำพรรรษา หรือ การอธิษฐานอยู่ประจำที่เป็นเวลา ๓ เดือน จะมี ๒ ระยะ คือ
- “ปุริมพรรษา” หรือ “เข้าพรรษาแรก” นับตั้งแต่วันแรม ๑ ค่ำเดือน ๘ ถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ำเดือน ๑๑ (วันออกพรรษา) แต่ถ้าปีใดมีอธิกมาส คือมีเดือน ๘ สองหน ก็จะเลื่อนไปเริ่มจำพรรษาในวันแรม ๑ ค่ำเดือน ๘ หลัง
- “ปัจฉิมพรรษา” หรือ “เข้าพรรษาหลัง” จะเริ่มตั้งแต่วันแรม ๑ ค่ำเดือน ๙ ถึงวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๒
ในประเทศไทย พระภิกษุส่วนใหญ่จะจำพรรษาในช่วงปุริมพรรษาหรือพรรษาแรกมากกว่าปัจฉิมพรรษาหรือพรรษาหลัง ยกเว้นพระภิกษุที่อาพาธ(ป่วย)หรือมีกิจจำเป็นจึงจะอธิษฐานจำพรรษาในช่วงปัจฉิมพรรษา ส่วนการที่มีเดือนแปดสองหน หรือปีอธิกมาส ก็เพราะเป็นการนับทางจันทรคติ(วันขึ้น วันแรม)ซึ่งแต่ละปีจะมีจำนวนวันน้อยกว่าการนับทางสุริยคติ(การนับวันตามแบบปัจจุบัน) ทำให้ต้องเพิ่มเดือนในบางปีเพื่อชดเชยจำนวนวันที่หายไป มิให้ปีทางจันทรคติและสุริยคติคลาดเคลื่อนกันไปมากความเป็นมาของวันเข้าพรรษาเกิดขึ้น
ประวัติวันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษา เมื่อครั้งพระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่วัดเวฬุวัน เมืองราชคฤห์ พอถึงฤดูฝ…
ข้อมูลโดยละเอียดสำหรับ วันเข้าพรรษา 2564 ประวัติความเป็นมาวันเข้าพรรษา…

วันเข้าพรรษา 2565 ตรงกับวันพฤหัสบดีที่ 14 กรกฎาคม
วันเข้าพรรษา 2565 ตรงกับวันพฤหัสบดีที่ 14 กรกฎาคม หรือ แรม 1 ค่ำ เดือน 8 เป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา วันหยุดราชการและวันหยุดธนาคาร ซึ่งประวัติ ความสำคัญ กิจกรรมแห่เทียนพรรษา การถวายผ้าอาบน้ำฝน ต้องทำอย่างไร มาอัปเดตกัน
สำหรับ วันเข้าพรรษา เป็นวันที่พระสงฆ์เถรวาทจะอธิษฐานว่าจะพักประจำอยู่ ณ ที่ใดที่หนึ่ง ตลอดระยะเวลาฤดูฝนที่มีกำหนดเป็นระยะเวลา 3 เดือน ตามที่พระธรรมวินัยบัญญัติไว้ โดยไม่ไปค้างแรมที่อื่น หรือที่เรียกติดปากกันโดยทั่วไปว่า “จำพรรษา” นั่นเอง โดย วันเข้าพรรษา 2565 ตรงกับวันพฤหัสบดีที่ 14 กรกฎาคม หรือ แรม 1 ค่ำ เดือน 8 ซึ่งประวัติวันเข้าพรรษา ความสำคัญ กิจกรรม มีดังนี้
ประวัติวันเข้าพรรษา
“เข้าพรรษา” แปลว่า “พักฝน” หมายถึง พระภิกษุสงฆ์ต้องอยู่ประจำ ณ วัดใดวัดหนึ่งระหว่างฤดูฝน โดยเหตุที่พระภิกษุในสมัยพุทธกาล มีหน้าที่จะต้องจาริกโปรดสัตว์ และเผยแผ่พระธรรมคำสั่งสอนแก่ประชาชนไปในที่ต่าง ๆ ไม่จำเป็นต้องมีที่อยู่ประจำ แม้ในฤดูฝน ชาวบ้า…
ข้อมูลโดยละเอียดสำหรับ วันเข้าพรรษา 2565 ตรงกับวันพฤหัสบดีที่ 14 กรกฎาคม…
วันเข้าพรรษา ประวัติความเป็นมาและข้อมูลของวันเข้าพรรษา (คืออะไร หมายถึง ความหมาย) – Sanook! พีเดีย
วันเข้าพรรษา ประวัติความเป็นมาและข้อมูลของวันเข้าพรรษา, วันเข้าพรรษา ประวัติความเป็นมาและข้อมูลของวันเข้าพรรษา หมายถึง, วันเข้าพรรษา ประวัติความเป็นมาและข้อมูลของวันเข้าพรรษา คือ, วันเข้าพรรษา ประวัติความเป็นมาและข้อมูลของวันเข้าพรรษา ความหมาย, วันเข้าพรรษา ประวัติความเป็นมาและข้อมูลของวันเข้าพรรษา คืออะไร
วันเข้าพรรษา พ.ศ 2564 ตรงกับวันที่ 25 กรกฎาคม 2564
รู้จักความเป็นมาและข้อมูลของวันเข้าพรรษา
การเข้าพรรษา เป็นพุทธบัญญัติ ซึ่งพระภิกษุทุกรูปจะต้องปฏิบัติตาม หมายถึง การอธิษฐานอยู่ประจำที่ไม่เที่ยวจาริกไปยังสถานที่ต่างๆ เว้นแต่มีกิจจำเป็นจริง ๆช่วงจำพรรษาจะอยู่ในช่วงฤดูฝนคือแรม ๑ ค่ำ เดือน ๘ ถึง ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ของทุกปี ดังนั้น วันเข้าพรรษา หมายถึง วันที่พระภิกษุในพระพุทธศาสนาอธิษฐานอยู่ประจำในวัด หรือเสนาสนะที่คุ้มแดดคุ้มฝนได้แห่งหนึ่งไม่ไปค้างแรมในที่อื่น ตลอด ๓ เดือนในฤดูฝน
วันเข้าพรรษา เป็นวันที่พระสงฆ์เริ่มอยู่จำพรรษาตลอด 3 เดือน ในฤดูฝน ตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำเดือน 8 จนถึงกลางเดือน 11 วันเข้าพรรษาที่พระพุทธเจ้าทรงอนุญาตไว้มีอยู่ 2 วันคือ
- วันเข้าปุริมพรรษา คือวันเข้าพรรษาแรก ตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ไปจนถึงวันเพ็ญกลางเดือน 11
- วันเข้าปัจฉิมพรรษา คือวันเข้าพรรษาหลัง ตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำเดือน 9 ไปจนถึงวันเพ็ญเดือน 12
เมื่อเข้าพรรษาแล้วหากภิกษุมีกิจธุระจำเป็น อันช…
“วันเข้าพรรษา” ประวัติที่มา ความสำคัญ วันเข้าพรรษา 2564
ประวัติวันเข้าพรรษา
ในอดีตสมัยพุทธกาล พระพุทธเจ้าไม่ได้กำหนดการจำพรรษาในวันเข้าพรรษาไว้ พระสงฆ์ผู้ที่เดินทางไปยังสถานที่ต่างๆ ได้เหยียบย่ำพืชผลชาวบ้านที่ปลูกไว้ในฤดูฝน สัตว์น้อยใหญ่ที่ออกหากินบนผิวดินถูกเหยียบย่ำ ชาวบ้านได้รับความเสียหาย เมื่อเรื่องนี้ทราบถึงพระพุทธเจ้าจึงเกิดการบัญญัติเรื่องวันเข้าพรรษาไว้ให้ภิกษุจำพรรษาอยู่ที่ใดที่หนึ่งเป็นเวลา 3 เดือน
ตามประวัติบันทึกไว้ ประเพณีวันเข้าพรรษามีระบุไว้ตั้งแต่สมัยสุโขทัย เกี่ยวกับการทำบุญวันเข้าพรรษาของพระมหากษัตริย์ และประชาชน เกี่ยวกับการถวายผ้าอาบน้ำฝนและถวายเทียนพรรษา
การเข้าพรรษาตามพระวินัย มี 2 แบบ ได้แก่
- เข้าพรรษาตามปกติ เรียกว่า “ปุริมพรรษา” – เริ่ม แรม 1 ค่ำ เดือน 8 หากมีเดือน 8 สองหนก็จะเริ่มในวันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 หลัง และออกพรรษาในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 พระภิกษุสงฆ์ที่จำพรรษาครบ 3 เดือน ก็จะมีสิทธิ์รับกฐิน
- เข้าพรรษาหลัง เรียกว่า ปัจฉิมพรรษา – เริ่ม แรม 1 ค่ำ เดือน 9 และออกพรรษาในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ในกรณีที่พระภิกษุติดกิจต้องเดินทางไกลหรือมีเหตุสุดวิสัยให้ไม่สามารถเข้าพรรษาในรอบแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ได้
กรณีพระภิกษุต้องออกไปจำพรรษาที่อื่น สามารถขออนุญาตทำได้ เรียกว่า “สัตตาหกรณียะ” และต้องกลับมาภายใน 7 วัน เพื่อไม่ให้พรรษาขาด ไม่ถือว่าอาบัติ ได้แก่
- พระภิกษุต้องดูแลบิดามารดาที่เจ็บป่วย
…
ข้อมูลโดยละเอียดสำหรับ “วันเข้าพรรษา” ประวัติที่มา ความสำคัญ วันเข้าพรรษา 2564…
วันเข้าพรรษา 2564 ประวัติความเป็นมา และความสำคัญทางศาสนา
วันเข้าพรรษา 2564 ประวัติความเป็นมา และความสำคัญวันเข้าพรรษา ที่พระสงฆ์เถรวาทจะอธิษฐานว่าจะพักประจำอยู่ ณ ที่ใดที่หนึ่งตลอดระยะเวลาฤดูฝนที่มีกำหนดระยะเวลา 3 เดือน
วันเข้าพรรษา เป็นวันสำคัญในพุทธศาสนาวันหนึ่งที่พระสงฆ์เถรวาทจะอธิษฐานว่าจะพักประจำอยู่ ณ ที่ใดที่หนึ่งตลอดระยะเวลาฤดูฝนที่มีกำหนดระยะเวลา 3 เดือนตามที่พระวินัยบัญญัติไว้ โดยไม่ไปค้างแรมที่อื่น หรือภาษาปากว่า จำพรรษา (“พรรษา” แปลว่า ฤดูฝน, “จำ” แปลว่า พักอยู่) การเข้าพรรษานี้ถือเป็นข้อปฏิบัติสำหรับพระสงฆ์โดยตรง พระสงฆ์จะไม่จำพรรษาไม่ได้ เนื่องจากรูปใดไม่จำพรรษาถือว่าต้องอาบัติทุกกฏตามพระวินัย การเข้าพรรษาตามปกติเริ่มนับตั้งแต่วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ของทุกปี (หรือเดือน 8 หลัง ถ้ามีเดือน 8 สองหน) และสิ้นสุดลงในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 หรือวันออกพรรษา
วันเข้าพรรษา (วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 หรือปีอธิกมาส จะเลื่อนเป็นวันแรม 1 ค่ำเดือน 8 หลัง) หรือเทศกาลเข้าพรรษา (วันแรม 1 ค่ำ เดือน 8 ถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 หรือปีอธิกมาส จะเลื่อนเป็นวันแรม 1 ค่ำเดือน 8 หลัง ถึงวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11) ถือว่าเป็นวันและช่วงเทศกาลทางศาสนาพุทธที่สำคัญเทศกาลหนึ่งในประเทศไทย โดยมีระยะเวลาประมาณ 3 เดือนในช่วงฤดูฝน โดยวันเข้าพรรษาเป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสน…
ข้อมูลโดยละเอียดสำหรับ วันเข้าพรรษา 2564 ประวัติความเป็นมา และความสำคัญทางศาสนา…